ซึ่งแต่ละตัวก็จะมีความสำคัญต่างกันนะครับ
- Show Request Editor --> แสดงในส่วนของ Editor Request
- Add to TestCase --> เพิ่ม TestCase ให้กับ Project
- Add to MockService -->เพิ่ม MockService ให้กับ Project
- Add as MockResponse Step -->เพิ่ม MockResponse Step ให้กับ Project
- Copy to TestRequests --> เป็นการ copy TestRequest
- Clone Request --> เป็นการดึงเอาข้อมูลทั้งหมดมา
- Rename --> เป็นการเปลี่ยนชื่อของ Request
- Delete --> การลบ Requset
- Online Help --> การเปิดตัวช่วย online หากติดปัญหาใดๆ
ซึ่งประกอบด้วย
- Submit --> เป็นการตอบตกลง Request
- Add to TestCase --> เป็น function ในการเพิ่ม TestCase
- Add as MockResponse Step -->เป็น function ในการเพิ่ม MockResponse
- Add to MockService -->เป็น function ในการเพิ่ม MockService
- Recreate Request --> เป็นการสร้าง Request ขึ้นมาใหม่โดยลบสิ่งต่างๆที่ทำลงไปออกทั้งหมด
- Create Empty --> เป็นการคืนค่าทุกอย่างที่กำหนดไว้เป็น null ทั้งหมด
- Cancel Request --> คือการยกเลิกค่า Request ที่ส่งไป
- Tab Layout --> คือช่องที่แสดงส่วนของ endpoint สามารถ แก้ไข / เพิ่ม / ลบ ได้
- Online Help --> การเปิดตัวช่วย online หากติดปัญหาใดๆ
- Aut
- Headers
- Attchments
- WS-A
และส่วนต่อไปนี้จะเป็นส่วนของหน้าตาของ Request ที่ผมได้ทำการเรียกขึ้นมานะครับ
ซึ่งส่วนที่ 1 ก็นะเป็นส่วนของการ Input ค่าเข้าไปให้กับ Request form นะครับ และส่วนที่ 2 ก็จะเป็นส่วนของ Output ที่ได้ออกมา ซึ่งทั้งสองส่วนนี้มี form ให้เลือกอยู่ 4 แบบนะครับว่าจะแสดงค่าเป็นแบบไหน และ Form ที่ให้เลือกก็จะมี
- แบบ Form
- แบบ Outline
- แบบ Raw
- แบบ XML
ซึ่งการทำงานกับ Request ก็มีเพียงเท่านี้นะครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น